วันอาทิตย์ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2563

สรุปบทความคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

 สอนคณิตอย่างไรให้สนุก ( สำหรับเด็กปฐมวัย )




สอนคณิตอย่างไรให้สนุก ( สำหรับเด็กปฐมวัย )
โดย วรารัตน์ สิริจิตราภรณ์โดย วรารัตน์ สิริจิตราภรณ



         จัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์โดยใช้สื่อทั้งที่เป็นรูปภาพ ของจริง ของจำลองที่หลากหลาย บางครั้งใช้สื่อในห้องเรียนที่มีอยู่ตามมุมประสบการณ์ เช่น ไม้บล็อก ลูกบอล ตัวต่อ ฯลฯ และจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดในเรื่องของการจำแนก การเปรียบเทียบ การจัดหมวดหมู่ การนับจำนวน รูปร่างรูปทรง ใช้วิธีจัดกิจกรรมกลุ่มซึ่งเด็กได้เรียนรู้ร่วมกันและรู้จักสังเกต ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน  เช่น ในการจัดประสบการณ์ให้เด็กเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้ เรื่องไม้ดอกไม้ประดับ และต้องการให้เด็กได้เรียนรู้ในเรื่องการจำแนกสิ่งต่างๆเราสามารถจัดเด็กเป็นกลุ่มย่อยและนำสื่อของจริง เช่น ดอกไม้ชนิดต่างๆที่มีสีต่างๆมาให้เด็กสังเกตและจำแนกดอกไม้ตามชนิด  สี กลิ่นของดอกไม้   นอกจากนี้เด็กสามารถเปรียบเทียบจำนวนของดอกไม้ที่จำแนกได้อีก และเปิดโอกาสให้เด็กแต่ละกลุ่มนำเสนอผลงานของกลุ่มของตนเองโดยวิธีการวาดภาพหรือการเล่าให้ครูและเพื่อนๆฟัง 








สรุปบทความวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


 วิธีการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้

METHODS FOR TEACHING SCIENCE AS INQUIRY

   ที่มาfile:///C:/Users/NERI%20COMPANY%20LIMITED/Downloads/9223-Article%20Text-19259-1-10-20130612.pdf

       ตัวอย่างที่หลากหลายในการที่จะช่วยให้ผู้อ่าน เข้าใจแนวทางการประยุกต์ใช้ทฤษฎีในทางปฏิบัติ ผู้เขียนมีการยกตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ และ วิเคราะห์แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อแสดงให้ผู้อ่านเข้าใจขั ้นตอนการสอนในแต่ละโมเดล ผู้เขียนมีการนำเอาสื่อวีดีทัศน์การจัดการเรียนการสอนแนวคิดวิทยาศาสตร์พื ้นฐานมาช่วยให้ผู้อ่านเห็นเข้าใจวิธีการ จัดการเรียนการสอนรวมถึงแนวคิด ทฤษฎีต่างๆ

      นี้เป็นจุดเริ่มต้นที่ดีสำหรับผู้ที่ต้องการเริ่มศึกษาวิธีการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ด้วยตนเอง ในยุคของการปฏิรูปการศึกษาไทยในปัจจุบัน การจัดการเรียนการสอนในทุกระดับมุ่งเน้นการ จัดเนื้อหาสาระให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน มุ่งฝึกทักษะ กระบวนการคิด และ จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากการฝึกปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็นและเกิดการใฝ่รู้ อย่างต่อเนื่อง การสอนโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ เป็ นหนึ่งในวิธีการสอนที่สอดคล้องกับแนวทางการจัดการเรียนการ สอนดังกล่าวข้างต้นและได้รับการสนับสนุนให้ใช้ในการสอนวิทยาศาสตร์จากสถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)  ในการที่จะน าเอาทฤษฎี และแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ที่มีลักษณะเป็น นามธรรมไปสู่การปฏิบัติการสอนในชั้นเรียน 

    

วันพุธที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2563

บันทึกอนุทินครั้งที่ 1

  

💝💝บันทึกอนุทินครั้งที่ 1💝💝


วันอังคารที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2563
เวลา 08.30-12.30

       เป็นการพบอาจาร์ยในห้องเรียนครั้งแรก อาจาร์ยให้หาจุดเด่นของตัวเองแล้วเขียนลงบนกระดาษเพื่อที่จะให้อาจาร์ยจำหน้าได้ หลังจากนั้นอาจาร์ยได้อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับรายวิชชาที่เรียนให้ทราบอย่างชัดเจน มีการทำข้อตกลงกันภายในห้อง เรื่องการเข้าเรียน การทำงานส่ง การแต่งกาย เกณฑ์การให้คะแนน พอทำความเข้าใจในส่วนนั้นเสร็จอาจาร์ยได้ได้ให้นักศึกษาทำMy Mapping ในหัวข้อ"การจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์" ในมุมมองของนักศึกษาคิว่าหัวข้อที่กำลังจะศึกษาคืออะไร และได้ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มละ5คนและสร้างPedletเพื่อให้แต่ละกลุ่มโพส์ตงานและเช็คชื่อในนั้น

งานที่อาจารย์มอบหมาย

-ให้นักศึกษาสร้าง Blog

-ให้นักศึกษาบันทึกคำศัพท์ลงในBlogอย่างน้อย5คำ

คำศัพท์

1. Research=วิจัย

2. Skill=ทักษะ

3. Mathematics=คณิตศาสตร์

4. Science=วิทยาศาสตร์

5.Learning=การเรียนรู้

ประเมินอาจารย์

  อาจาร์ยเข้าสอนตรงต่อเวลา ให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีในการเรียนได้อย่างเหมาะสม มีการสอนที่แปลกใหม่ให้เข้ากับโลกสมัยใหม่

ประเมินเพื่อน

   เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจฟังและบันทึกงานที่ได้รับมอบหมาย ทำงานส่งได้ตรงเวลาที่กำหนด

ประเมินตนเอง

   มาเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกระเบียบ ทำงานที่ได้รับมอหมาย และมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่อาจาร์ยสอน

บันทึกอนุทินครั้งที่ 2

   

💝💝บันทึกอนุทินครั้งที่ 2💝💝


วันอังคารที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2563
เวลา 08.30-12.30

     💕อาจาร์ยได้มอบหมายงานให้นักศึกษาสรุป บทความคณิตศาสตร์ บทความวิทยาศาสตร์ วิจัยคณิตศาสตร์ วิจัยวิทยาศาสตร์ วีดีโอการสอนคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย ลงในบล็อกโดยอาจาร์ยให้ถ่ายรูปกลุ่มแล้วลงผ่านPadletเพื่อเช็คชื่อ

ประเมินอาจารย์: อาจาร์ยได้อธิบายรายละเอียดการทำงานต่างให้อย่างชัดเจนและเปิดโอกาสให้นักศึกษาสอบถามข้อสงสัยเกี่ยวกับงานได้

ประเมินเพื่อน:เพื่อนมีความกระตือรือร้นในการทำงานและเชื่อฟังคำสั่งของอาจาร์ย

ประเมินตนเอง: มาเรียนตรงเวลา เชื่อฟังคำสั่งที่อาจาร์ยได้มอบหมายให้

วันอังคารที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2563

บันทึกอนุทินครั้งที่ 3

 

💓💓บันทึกอนุทินครั้งที่ 3💓💓


วันอังคารที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2563
เวลา 08.30-12.30

 มีการเรียนแบบถามตอบ อาจารย์ไม่นั้งอ่านตัวหนังสือแต่เน้นการพูดคุยแสดงความคิดเห็นกับนักศึกษาในชั้นเรียนมากกว่า เป็นการสอนที่มีอิสระโดยให้นักศึกษาใช้ความคิดตอบคำถามอิสระ มีการเรียนเกี่ยวกับความหมายเด็กปฐมวัย กระบวนการ พัฒนาการ ความหมาของการเล่น วิธีการที่ทำให้เกิดการเรียนรู้ และการชุมนุมที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตยล่าสุดว่ามีเหตุมีผลอย่างไร


ประเมินอาจารย์ : อาจารย์สอนเนื้อหาได้ดี ให้ใช้เทคโนโลยีในการเรียนได้ดี มีการถามและให้นักศึกษาตอบได้อิสระ

ประเมินตัวเอง : เข้าใจเนื้อหามากกว่าเดิมได้รู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษใหม่ๆ ได้แสดงความคิดเห็นที่ตัวเองคิดไม่มีถูกมีผิด

ประเมินเพื่อน : เพื่อนมีการตอบโต้กับอาจารย์ได้ดี และให้ความร่วมมทอในการเรียน