💚💜💛สรุปวิจัยคณิตศาสตร์💛💜💚
เรื่อง การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
โดย
วิจิตตรา จันทร์ศิร
💙วัตถุประสงค์การวิจัย💙
1. เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้ นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังการใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน
3. เพื่อวัดเจตคติของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน
💙ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย💙
1. ได้รูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
2. เป็นแนวทางในการค้นคว้าวิจัยและพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
3. เป็นแนวทางสําหรับครูผู้สอน ผู้บริหาร และผู้ที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมทักษะพื้นฐาน ทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยและพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนได้อยางเหมาะสมต่อไป
💙สมมุติฐานการวิจัย💙
เด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย มีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์หลังจากการใช้รูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานสูงก่อนการใช้รูปแบบอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
💙ขอบเขตของการวิจัย💙
1. ประชากรตัวอย่างได้แก่ เด็กปฐมวัย อายุ 5-6 ปี ที่กาลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นอนุบาลปีที่2 จำนวน 480คน
2. ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษามี ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม
3.ขอบเขตด้านเนื้อหา หน่วยการเรียนรู้ 8 หน่วย ดังนี้ วันขึ้นปีใหม่ วันเด็ก ดอกไม้ ผลไม้ ผัก สัตว์เลี้ยงแสนรัก กลางวันกลางคืน เงิน
💙สรุปผลการวิจัย💙
ผลการพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็ นฐานเพื่อส่งเสริม ทักษะพื้ นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย สรุปผลได้ดังนี้
1. รูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะ พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญมีความเหมาะสมอยูในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยตั้งแต่3.75-4.25 โดยรูปแบบการสอนมี6 ขั้น ได้แก่ขั้นที่ 1 ขั้นสร้าง ความสนใจ ขั้นที่ 2 ขั้นวางแผน ขั้นที่ 3 ขั้นปฏิบัติกิจกรรมขั้นที่ 4 ขั้นทบทวน ขั้นที่ 5 ขั้นนําเสนอ ขั้นที่ 6 ขั้นประเมินผลการเรียนรู้
2. ผลการเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยก่อนเรียนหลังเรียนของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานพบว่าเด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์หลังเรียนสูงกวาก่อนเรียนอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
3. ผลการศึกษาเจตคติของเด็กปฐมวัยที่มีต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สมอง เป็ นฐานปฏิบัติกิจกรรมของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานพบว่าด็กปฐมวัยมีเจตคติที่ดีต่อการจัดประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐานอยูในระดับมาก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น